Originally published in Volume 1 No.4 Bicycles United magazine
Story: Thanasak Vijitrattana | Photos: S o m k i s S & ThaiMTB.com
อ่านเวอร์ชั่นภาษาไทย กดที่นี้จ้า
KASIAN CHUAN PAN
“Retired Bikers Ride” or in Thai “Kasian Chuan Pan Bikers” has become an annual challenging trip for retirees who love to ride bicycles. So far three trips have been organized with the most recent trip that took place earlier this year. The distance of the trip is approximately 5,000 kilometers and takes about two months to complete. The oldest participants joining the trip are aged around 75 to 76 years old, the trip’s owner Uncle Charuek Chinangkun told us it’s open to everyone but participants are mostly the elderly retirees.
Uncle Charuek Chinangkun is the founder of this great activity he started four years ago with the first trip taken place end of 2010 and it took him almost 10 years to survey that route. He was very impressed with the route and he wanted to share the experience with others, therefore, he organized the trip and invited others to join in the ride.
“I was a freelance engineer and I wanted to take a break from my job so I took up cycling. My work involved the construction of expressways and underground trains. I could be stationed anywhere I wanted but when the MRT project was completed, one of my friends who loved travelling decided to ride a speed bike to Phuket. I too became interested in the idea so I invited one of my other friends to buy a bicycle, I have no knowledge about buying bicycles or even about touring bikes. All I knew was I needed a bike that I could carry all my belongings. I bought a bicycle from Chiang Kong with two baskets attached on each side, put all my belongings in and went off for my ride”.
On the first trip, there were three of us. “Pok is our young engineer friend, he is the bookworm as he loved books and we believe in his trait. Another friend who went with us is “Khun Witthaya” he taught me to trek and I taught both of them to dive. We ended up in Ubon Ratchathani Province on our first trip riding for 30 kilometers, since we did not have any cycling experience we just cycled on. From our 2nd-10th day we cycled approximately 40-50 kilometers daily. We would take a rest after 20 minutes ride and when we can find a pavilion to rest we will take a nap. As our experience and strength built up each day we managed to ride 60 kilometers on our last day and reached Ubon Ratchathani. After the long ride to Ubon Ratchathani we booked seats on the bus back, it was the most comfortable bus ride in our lives.
“Before I took on cycling, I trained for marathons, I pushed myself from 1k to 5k, then 10k on to 21k. I followed the distance recommended for beginners. I trained really hard as I wanted to participate in the 42k marathon within the year. This is why my first cycling trip was successful partly because of my marathon training. My physical strength gave me the energy and power I needed, however each sport requires different muscle types usage.
I was totally exhausted from the marathons but I still wanted more, from time to time I would ask myself “why do I torture myself like this?” I went cycling in the countryside and I really enjoyed it. I realize that I loved travelling by bicycle. It became my inspiration to train more so I could go on longer cycling trips. I cycled along Thailand’s border and I kept repeating the same route, riding from north, the south and on every trip riding with me was Khun Wittaya. He looked after me and never complained at all. I would start either early or late mornings, I would stop anywhere and he just rode with me.
I asked Khun Wittaya to join me on one of my other trips but he said : “it is time your ride on your own, my job is done”. He looked after me when we were cycling on all those trips and he now trusted I have enough experience to be able to ride on my own.
Cycling trips was not a popular thing in the past as people cycled in races so there are not many cycling routes and no reviews for cycling routes in Thailand were available. I got stuck in Pak Se, Laos on one of my cycling trips, since I am not good in reading I could not understand reading Lonely Planet but I had to read it for information. Only until I found the online cycling community “ThaiMTB.com” did I find the guru like “Uncle Net Thanin99” and many more who assisted me, I owed it all to the internet.
After I returned from my trip I wanted to develop two skills: reading and writing to post my stories online. Trip after trip, gaining from more than 5 years experience I just wanted to go cycling and the older I got the more fun I wanted from cycling trips. I started to invite the elderly to join my group “Mai Kham Tawan Group”, is a very famous group on ThaiMTB.com and we went on monthly trips. From my experience in Laos I still wanted to learn more about different countries cycling routes, Malaysia, Yunan and Vietnam. We rode on these routes for a couple of years, it was fun but eventually we started to get bored. When I cycled alone and even sometimes with the group the routes were very beautiful and enjoying until the routes becomes too repetitive.
We wanted more people to enjoy and experience our rides, we formed the “Retired Bikers Ride” and the feedback we received was overwhelming. Our trip was set for 68 days but it increased as we went on each trip due to some obstacles. Reasons being due to age we got tired both physically and mentally, also some members had to quit because of their family businesses. Even though there were people coming in and out we still had about 100 people in the group with an average of 30 people joining per day.
I am not the trip leader, we all ride together as we have the system that each one has to take care and look after ourselves but we still take care of one another from time to time. We wake up whenever we want and we ride whenever we want as well. The most important thing for the trip is we reach our daily destination. For the trips we have schedules for each day so we can all stay, cook, eat and have fun together. If there was an opportunity to spend the night in a resort or hotel we will or even have a luxurious meal. However, when we are with a big group we have one rule, when it is 8:00 p.m. “All must be quiet” and if you wake up before 5:00 a.m. “Please do not disturb others”. We do not collect money but we ask for donations to give to houses or places we stay overnight.
For the first year, we made some mistakes as we miscalculated on certain things. We thought everyone could ride long distances and invited the retired to join us for cycling. However the routes was quite challenging, there were no resorts, hotels or guesthouses. We could even hardly find a village or community, let alone find food and water. Most of the ten day trips would be like this. Some had the physical strength but their minds were not into it so in the end they could not finish the trip. On the other hand, some were physically fragile but they were determined to finish and they succeeded. Our members who joined us from day one rarely found the road conditions hard as we selected the flat roads for our first route where we got to train our legs and then started climbing hills with the routes getting tougher with each trip.
Some member started to promote our trips being healthy and economical, by word of mouth it reached people who wanted to do the trip and they invited the Faculty of Sport Science, Burapha University to do the research on the “Retired Bikers Ride”. They collected our information for the research and found that our physical health was in excellent form. Dr. Kritsada Banchuen, is a good person for Chonburi as he promotes exercising is good for health as he too is a marathon sportsman and he also does adventure bike rides. He is the one who suggested to Burapha University to do the research on our group.
When doing the trips I am a very strict person, I want our participants to be able to experience the trip fully and those that can accomplish the trips were guaranteed excellent health. Those that used to be overweight lost 4-5 inches of fat and gained better health. As they gained more cycling skills they could cycle anywhere they wanted to. When they made friends amongst themselves they organized trips of their own riding on different routes. To go on a trip you must plot the routes, make the arrangements, then riding together should not be a problem.
“Each year the purpose of our trip is to invite others to cycle our same route. Whoever is interested in riding this route can join with us. There will be no changes in the route. This is good for the organizers, going in the same path we can easily set our meeting points. Riding in the same route allow those behind us to know where we are. We can call each other to cooperate. Some even find accommodation for us in advance. Moreover, I want to spend my time now cycling this route.”
Uncle Charuek highly recommends that before going on a trip we should disassemble every part of our bicycle to give it a thorough cleaning. If you are a biker you should be able to fix any part or problem when on the road so you will not cause delay or disturbance to others. On a touring trip one should not worry too much about the weight but be equipped with only things you must use and able to find when needed. Make a habit of this process, “the heavier the bike, the stronger the biker”.
Nowadays, Uncle Charuek lives sufficiently and healthily exercising all the time but he rarely has much time to cycle. He still train by running, “I love running; bikes are for cycling around for fun.”
คนเกษียณชวนปั่นประเพณี
“เกษียณชวนปั่น” กลายเป็นทริปประจำปี ที่ค่อนข้างโหดทริปหนึ่ง ทั้งในเรื่องระยะทางรวม 5,000 กิโลเมตร เวลากว่า 2 เดือน อายุผู้เข้าร่วมมากที่สุดประมาณ 75-76 ปี จดั ไปแลว้ 3 ครงั้ โดยครงั้ สุดท้ายเพิ่งจบทริปไปเมื่อต้นปี 2556 ที่ผ่านไป ถึงแม้เจ้าของทริปจะบอกว่ารับทุกวัย แต่ผู้เข้าร่วมส่วนใหญ่เป็นผู้สูงวัยแทบทั้งนั้น
ลุงจารึก ฉินังกูร ผู้ริเริ่มกิจกรรมดีๆ นี้เมื่อ 4 ปีที่แล้ว โดยเริ่มครั้งแรกตั้งแต่ช่วงปลาย ปี 2553 ใช้เวลาตามเก็บเส้นทางนี้มาร่วม 10 ปี ด้วยความ ประทับใจอยากให้คนอื่นได้มา สัมผัสบ้าง จึงตัดสินใจจัดทริปแล้วประกาศ เชิญชวนให้นักปั่นมาสนุกด้วยกัน
“เริ่มตอนที่ปั่นจักรยานครั้งแรก เป็นช่วง ที่อยากจะหยุดพักผ่อนจากงาน freelance structure เป็นวิศวกรเกี่ยวกับพวกงานสร้าง ทางด่วน รถไฟฟ้าใต้ดิน จะทำงานเมื่อไหร่ ก็ได้ พอช่วงจบโครงการรถไฟใต้ดิน พอดีมี เพื่อนรุ่นน้องมาเล่าให้ฟังว่า เขาไปปั่นรถเกียร์ เดียว (Single Speed) ปั่นไปเที่ยวถึงภูเก็ต เป็นคนชอบเที่ยวอยู่แล้วทำให้เราสนใจ คิดว่า จะพักสมองด้วยการขี่จักรยานเที่ยว จึงชวน เพื่อนอีกคนไปซื้อจักรยาน เราไม่เคยศึกษา มาก่อนว่าจักรยานแบบทัวร์ริ่งนี่ต้องเป็นยังไง รู้แค่ว่าจะต้องพกสัมภาระ ไปเอาจักรยาน เก่าจากเชียงกงจัดการทำตระกร้าห้อยติดกับ จักรยาน 2 ข้าง แล้วเอาเป้ยัดใส่ลงไปเลย”
“ปั่นเที่ยวครั้งแรกไปกัน 3 คน มี “ป๊อก” วิศวกรรุ่นน้อง เป็นนักอ่านตัวยงที่เราศรัทธา กับ “คุณวิทยา” ผมเป็นลูกศิษย์เดินป่าของ เขาและเขาทั้งสองก็เป็นลูกศิษย์ดำน้ำเรา ทริป นั้นเราไปจบที่อุบลฯ ด้วยความที่ไม่มีพื้นฐาน การปั่น จับรถได้ก็ปั่นเที่ยวเลย ปั่นวันแรกได้ 30 กิโลฯ ปั่นวันที่ 2 ได้ 40-50 เราปั่นตลอด วัน ปั่น 20 นาที พัก 10 นาที เจอวัดตรง ไหนที่มีศาลาก็เข้าไปนอน หลับเลย ทั้งวันได้ 30-40 กิโลฯ เท่านั้นเอง ทั้งหมดปั่น 10 วัน พอวันสุดท้ายถึงอุบลฯ เริ่มเก่งแล้ว ปั่น ร่วม 60 กิโลฯ ได้ พอถึงอุบลฯ ปั๊บจองตั๋ว รถทัวร์เลยทันที วันนั้นเป็นการนั่งรถทัวร์ที่ สบายที่สุด”
“ก่อนที่จะมาปั่นจักรยานเคยไปหัดวิ่ง มาราธอนมาก่อน เริ่มจากคนวิ่งไม่เป็นเลย พัฒนาตัวเองจาก 1 กิโลฯ เป็น 5 เป็น 10 เป็น 21 กิโลฯ ตามตำรา ตอนนั้นซ้อมหนัก เพราะมีเป้าหมายอยากจะไปวิ่งมาราธอน 42 กิโลฯ ให้ได้ภายในเวลา 1 ปี การปั่นจักรยาน ครั้งแรกสำเร็จได้เพราะมีทุนเรื่องนี้อยู่บ้าง เรื่องกำลังกาย แต่ก็มาใช้ด้วยกันไม่ได้ทั้งหมด เพราะการปั่นจักรยานกับการวิ่งจะใช้กล้าม เนื้อคนละชุดกัน”
“แต่เหนื่อแค่ไหนก็ไม่เข็ดนะว่า ทำไมชีวิต ต้องไปตรากตรำลำบากขนาดนั้น เพื่อนพา ผมไปในเส้นทางชนบท ซำเหมา พอกลับมา ก็ติดใจ รู้เลยว่าเราชอบเที่ยวแบบนี้ กลาย เป็นแรงจูงใจอย่างมากว่า จะต้องเร่งหัดปั่น เที่ยวให้ได้ ระหว่างนั้นก็จะไปปั่นเที่ยวตาม ตะเข็บชายแดนเมืองไทย ปั่นซ้ำปั่นซาก ปั่น ขึ้นเหนือ ล่องใต้ ซึ่งในทุกทริปจะมีคุณวิทยา ไปเป็นบัดดี้ คอยดูแลผมอยู่ห่างๆ จะออก สายออกช้า จะแวะนู่นแวะนี่ ไม่เคยขัดคอ
ตามใจอย่างเดียว พอถึงจุดๆ นึงที่ผมชวน คุณวิทยาอย่างทุกครั้ง คุณวิทยากลับบอกว่า ถึงเวลาพี่ไปคนเดียวได้แล้ว แปลว่าในช่วงที่ เราปั่นด้วยกัน เขาคอยดูแลอยู่ห่างๆ โดยที่ ไม่บอกให้เรารู้ เป็นจุดเริ่มต้นที่ทำให้เริ่มปั่น คนเดียว”
“ในสมัยก่อนนั้นการปั่นท่องเที่ยวยังไม่ ค่อยเป็นที่นิยม จะเน้นขี่เพื่อการแข่งขันกัน ซะมากกว่า เส้นทางการปั่นท่องเที่ยวจึงยังไม่ ค่อยมี review เส้นทางเป็นภาษาไทยซักเท่า ไหร่ มีอยู่ทริปนึงไปติดค้างอยู่ที่ปากเซ (ลาว) แล้วมีปัญหา เนื่องจากการอ่านภาษาอังกฤษ ไม่ค่อยแข็งแรงเท่าไหร่ lonely planet ยอมรับ เลยว่าอ่านเท่าไหร่ก็อ่านไม่รู้เรื่อง แต่ก็ต้อง อ่าน จนเกิดการสื่อสารทางอินเตอร์เน็ตใน ThaiMTB ได้ผู้รู้อย่าง ลุงเนตร ธานินทร์๙๙ และอีกหลายท่านได้ช่วยผมไว้ ก็เลยเป็นแรง จูงใจ เพราะเป็นหนี้บุญคุณอินเตอร์เน็ตมาก กลับมาก็เลยเริ่มพัฒนา 2 อย่างที่อยากทำมา นาน คือ การพัฒนาการอ่าน และการได้หัด เขียน โพสต์เรื่องราวของเราลงอินเตอร์เน็ต”
“เก็บประสบการณ์อย่างนั้นอยู่ 5 ปี พอใจ ที่สุดคือ การปลุกยักษ์ที่มันหลับอยู่ในตัว เราให้มันออกมาสนุกสนานกับชีวิตในตอน แก่ จึงรวบรวมชวนคนแก่ในสายตาเด็กๆ ให้ ออกมาปั่นในชื่อ “กลุ่มไม้ค้ำตะวัน” ดังมาก ใน ThaiMTB เพราะกลุ่มนี้ชวนกันออกเที่ยว ทุกเดือน จากประสบการณ์ที่เราเคยปั่นในลาว เราเริ่มอยากศึกษาเส้นทาง ช่วงนั้นไม่สนใจ เส้นทางในไทยเลย จะไปก็มาเลย์เซีย ลาว จีน ยูนาน เวียดนาม ทำอยู่ 2-3 ปี สนุกมาก แต่ พอถึงจุดๆ หนึ่งมันก็อิ่มตัว”
“เส้นทางที่เราปั่นอยู่คนเดียวมันสวยจริงๆ ปั่นเดี่ยวบ้าง ปั่นกับกลุ่มไม้ค้ำตะวันบ้าง บาง เส้นทางปั่นซ้ำไปซ้ำมาอยู่หลายรอบ เลยอยาก ให้คนอื่นได้เห็นได้สัมผัสอย่างนี้ เลยเริ่มจัด “ทริปเกษียณชวนปั่น” ขึ้นมา ปีแรกมีคนสนใจ มาก ทุกคนตั้งใจจะทำให้ครบ กำหนดทั้งหมด 68 วัน แต่พอปั่นจริง มีเพิ่มวันขึ้นมาเพราะมี อุปสรรคเกิดขึ้นบ้าง ความเหนื่อยกายเหนื่อย ใจ ท้อถอยบ้าง มีภาระทางบ้านต้องกลับมา บ้าง แต่ในระหว่างนั้นก็จะมีคนเพิ่มคนออก ตลอดเวลาร่วม 100 คน โดยเฉลี่ยต่อวันไม่ ต่ำกว่า 30 คน”
“ในทริปผมไม่ใช่หัวหน้า ทุกคนปั่นไปด้วย กัน มีการจัดการแบบอิสระ ต้องจัดการตัวเอง ดูแลกันบ้างแล้วแต่โอกาส จะตื่นตอนไหน ก็ได้ จะปั่นตอนไหนก็ได้ จะปั่นแบบไหนก็ได้ แต่ขออย่างเดียวว่า ไปให้ถึงจุดหมายในแต่ละ วันก็พอ มีกำหนดการของแต่ละวัน เพื่อจะ ได้อยู่ด้วยกัน หุงข้าวหุงปลากินกัน เฮฮา กางเต้นท์นอนคุยกัน ทำตัวตามสบาย ถ้ามี โอกาสอยากนอนรีสอร์ทก็ไม่ว่ากัน จะกินอา หารหรูๆ ก็ไม่มีปัญหา แต่พอคุณเห็นคนกลุ่ม
ใหญ่เขาสนุกก็จะอยากสนุกด้วย มีกฎอยู่ข้อ เดียว เวลานอน 2 ทุ่มแล้วโปรดอย่าส่งเสียง ถ้าตื่นก่อนตี 5 ก็อย่าทำให้คนอื่นรำคาญ ไม่มีการเก็บเงินกองกลาง แต่ขอความร่วม มือว่าควรจะทำบุญค่าน้ำค่าไปให้กับที่ที่พัก ศาลาวัด อบต. หรือโรงเรียน ควรจะเก็บไป มอบให้เขาบ้าง”
“ในปีแรกมีข้อผิดพลาดอยู่เรื่องหนึ่ง ด้วย ความที่เราคำนวณผิด คิดว่าเราปั่นได้ใครๆ ก็ไปได้ เลยเขียนชักชวนไปในแง่ว่า “คุณ เกษียณแล้วคุณลองปั่นเถอะ ใครก็ทำได้ เพราะผมเห็นตัวอย่างของคนที่เขาทำได้มา แล้ว” แต่ด้วยโจทย์ของเส้นทางพวกนี้มัน กันดาร ไม่มีรีสอร์ท ไม่มีโรงแรม ไม่มีเกสต์ เฮาท์ ชาวบ้านยังไม่มีเลย อาหารการกินหา ยาก จะมีอย่างนี้ประมาณ 10 วันแต่เราก็ ต้องผ่าน บางคนร่างกายไหวแต่ใจไม่เอาก็ ทำไม่ได้ แต่บางคนร่างกายไม่ไหว แต่สู้ก็ทำ สำเร็จ แต่ถ้ามาตั้งแต่วันแรกก็ไม่น่ามีปัญหา เพราะเส้นทางในช่วงแรก 1 เดือน เป็นทาง เรียบเพื่อปรับสภาพร่างกาย ปรับสภาพขา มี เวลาพอที่จะปรับให้ขึ้นทางชันได้ และในช่วง หลังจากนั้นก็จะโหดขึ้นเรื่อยๆ”
“บางคนที่นึกคิดในทางสร้างสรรค์ เขา ก็ช่วยกันเผยแพร่กระแสข่าวว่าทริปนี้ดีน่า ปั่น เสริมสร้างสุขภาพร่างกายแน่นอน ได้ วิถีที่สมถะ พอเพียงสำหรับคนแก่ที่สมถะ กระแสนี้พูดไปถึงคนกลุ่มนึงที่เขามีศักยภาพ พอ ที่ไปชักนำให้คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา ของ ม.บูรพา ไปขอทุนมาวิจัยพวกเกษียณ ชวนปั่น ได้ทุนมาทดสอบภาวะร่างกาย จิตใจเราเมื่อปีที่ 2 ผลออกมาว่าสุขภาพ ดีเป็นเลิศ (ข้อมูล อาจารย์หมอกฤษดา บานชื่น เป็นหมอที่ส่งเสริมเรื่องการใส่ใจ การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ เป็นนักกีฬา มาราธอน จักรยาน adventure เป็นบุคคลา กรทรงคุณภาพของชลบุรี เป็นคนแนะนำให้ ม.บูรพามาทำวิจัย)”
“ในทริปเกษียณชวนปั่นผมจะโหดมาก จะ ให้เขาได้เจอทุกอย่างในทริปเดียว ใครที่จบทริป นี้ไปแล้ว จะได้ความแข็งแรงแน่นอน คนที่ เคยอ้วนเคยน้ำหนักเกินปั่นจบทริปเอวลดไป 4-5 นิ้วก็มี ได้สุขภาพร่างกายที่ดีขึ้นทันที ได้ ทักษะในการปั่นเพิ่มขึ้น ไปไหนก็ได้ทุกสนาม ถ้ารู้จักกันแล้วอยากปั่นเส้นทางอื่นก็รวมกลุ่ม ไปกันได้ ลองทำเส้นทางแล้วไปเก็บเส้นทางที่ อยากไปกัน ก็น่าจะทำได้แบบไม่มีปัญหา”
“ทริปเกษียณในทุกปีวัตถุประสงค์ คือ อยากปั่นซ้ำเส้นทางเดิมเพื่อชวนคนอื่นให้มา ปั่น ใครสนใจปั่นเส้นทางนี้ก็มาร่วมได้ จะไม่มี การเปลี่ยนเส้นทาง เพราะนอกจากง่ายกับคน ชวนแล้ว การทำซ้ำยังสามารถกำหนดจุดได้ อีกด้วย การปั่นเส้นทางเดิมๆทำให้พวกที่อยู่ ข้างหลังสามารถกำหนดรู้ตำแหน่งที่อยู่ของ เราได้ มีอะไรสามารถโทรประสานงานกันได้ ช่วยโทรหาที่พักในบางจุดล่วงหน้าให้เราได้ และตัวผมเองอยากสงวนเวลาช่วงนี้เพื่อปั่น เส้นทางนี้ด้วย”
ลุงจารึกแนะนำว่า ก่อนออกทริปควรจะ ถอดรื้อ ล้าง ดูแลให้ครบทุกชิ้น เล่นจักรยาน ก็ควรจะซ่อมให้เป็นทั้งคัน เพื่อจะได้ไม่มี ปัญหาตอนเดินทาง การปั่นทัวร์ริ่งอย่าไปกลัว เรื่องน้ำหนัก อยากได้อะไรก็จะต้องหยิบใช้ได้ ในสิ่งที่คุณแบก เวลาจำเป็นจริงๆ จะได้ไม่มี ปัญหา ให้หัดเอาไว้เป็นนิสัย รถยิ่งหนักก็ยิ่ง จะแข็งแรงขึ้น
ปัจจุบันลุงจารึกยังใช้วิถีชีวิตประจำวัน อยู่กับการออกกำลังกายอยู่ตลอดเวลา แต่ ไม่ค่อยได้ข้องเกี่ยวกับจักรยานซักเท่าไหร่ เพราะจริงๆ แล้ว เป็นคนชอบวิ่งมากกว่าปั่น จักรยาน จึงยังคงฝึกวิ่งอยู่ทุกวัน “เป็นคนติด วิ่ง จักรยานมีไว้ เพื่อไปปั่นเที่ยว”
ติดตามโปรแกรมครั้งหน้า
คนเกษียณชวนปั่นประเพณี ครั้งที่ 4
ได้ที่ www.thaimtb.com
ขอขอบคุณรูปสวยๆ จาก ThaiMTB
USER : พิงธรรม์, APM,
HuggyBeary, SENG9, toys.2007,
wat264, ผู้พันPOK, แขก มะขามหวาน,
จำรัส ละหานทราย, ตารี, นู๋เล็ก, สมพิศ,
เสือตั๋ง อรัญฯ, เสือโอ๋
Leave a Reply