Originally published in Volume 1 No.5 Bicycles United magazine
อ่านเวอร์ชั่นภาษาไทย กดที่นี้จ้า
MAHIDOL SALAYA
Pilot Bicycle University
Apart from cycling city, let’s look now at this on a smaller scale. Then university is one of the places where many people gather and spend their lives together. It is like a city where a certain lifestyle can be created. Building a cycling city in the university requires cooperation from the majority of people within the university. However, these people come from different places, so there must be certain measures to make the people accept the new lifestyle.
Many universities have started to turn themselves into Bicycle Universities such as Thammasat, Chulalongkorn, Rangsit or Bangkok University, or even Kasetsart and Mahidol University where the “cycling in campus” campaign initiated. Now, it seems that Mahidol is the only university with the most tangible success.
Mahidol University, Salaya Campus is located quite far from the city and it is not a downtown university with many choices of public transportation. In the past, there was only one bus running to Salaya. The campus has been around for 36 years with an area of 1,240 rai, which is considered a very big campus. Most of the area was filled with trees and empty spaces, the roads being gravel roads. Classroom buildings were far apart from each other. Students needed to use the bicycle to get on to the different places within the campus.
Until the year 2008, Mahidol Salaya had a new board of directors, the dean was Professor Dr. Piyasakon Sakonsattayathon. He had a plan of physical improvements for the campus, from the infrastructure to planning the new over all master plan. He wanted to make the campus more appealing as well as using the empty spaces as efficiently as possible. Also, he wanted to keep the same lifestyle for students so he initiated a project called “Mahidol’s Cycling for Better Being”.
“When we started the first phase in front of the Dean’s office, there were some opposing voices but the Dean wanted to make it happen since he believed it would be good for the university and he was right. The project really helped out the university, if the project was suspended back when there were people opposing to it, we would not see the achievement today. Many universities have come to Salaya to study the project, asking how they can do it. We said the most important thing is the leader. If the leader puts something as the priority, that thing will get the most attention. If he/ she says bicycles are the most important things for the university, they will get the first priority but if he/she says cars are the most important then we would need to build more roads and parking lots. It will go on and on endlessly.”
“Originally, we did not plan for it to be a bicycle project. We only thought of making walking paths and that the paths need to be bigger than or as big as the driving lanes. We wanted to promote well-being and good health so we need to show our priority through our making of the roads inside the campus.”
“In the past, our university had six driving lanes and a traffic island. The cars were not as many as today. Cyclists could also use the driving lanes. One day a problem occurred when there were more cars with the international college being opened. The international college students are mostly wealthy so they have a lot of money and could afford to own cars. The six driving lanes turned into two driving lanes. The rest turned into parking lanes. We wanted to return the space to other students, so we asked people not to park in the driving lanes.”
“Before we could get the space back, we had some problem with the people who parked their cars in the spaces and those who conveniently just park their cars and go straight to their classroom building. There were about 2,000 cars, where could we send them? We could not just ignore them. We had to find a place for them to park their cars so we build four temporary parking lots. Each holds about 1,000 cars. First come first served. We also prepared internal public transportation (trams) for these people otherwise they might not cooperate.”
“When the physical system was ready. We thought that there must be some motivation so, we built the “Jakka Center” (Bike Center). In the first year, we wanted to do white bicycles by bringing together the discarded bicycles around the campus, repairing and painting them white. We organized a big event and PR the campaign saying “whenever you see a white bike, just grab it and ride on it”. No one owns the bikes, if you parked a white bike and went to class, anyone could pick it up and ride on it.”
“It turned out to be a valuable lesson. No one looked after the bikes. When they were broken, no one cared. When there was a problem, no one volunteered to fix it. So, we took back all the bikes all over the places. We did not think of this before. Who would be responsible for repairing the bikes? How could we know when a bike was broken? What would happen if a student rode a bike and there was a problem? Should the student leave the bike as is or repair it? We needed to teach them take on responsibility. Back then we had 200 white bikes, all of which were broken. We kept all the broken bikes as a reminder of our first mistake.”
“Coca Cola meanwhile came to look at our physical system which was fully completed. They said they wanted to support this project and sponsored us with some funds that we could use to do whatever we wanted for this project. We decided to use the money to buy new bicycles and made new 420 white bikes. We bought 70 mountain bikes for our security guards and 30 more for the board as personal work bike. We thought that if we wanted our students to use bicycles, our leaders need to use it first. When there are internal meeting we would ride our bikes. The first day that we got the bikes we went riding together the whole 30 of us on our bikes.”
“Then we pushed the Jakka Center again. We operated it as a full service center. There was a sales and buy section, a repairing section to facilitate the students. We manage a one-day borrow and return system. We made a member card which student would use to borrow a bike. The card contained the member’s contact info. If a student did not return our bikes we would call to follow up on them. However, the students took the card for granted, they either lost the card or not follow the rules, so we had to stop using the card and recall all the bikes back into our system again.”
“After that we require student’s ID card or Student card in order to borrow a bike. The system went along better since these cards are important to the students. First, we wanted to have 14 service stations. Our security guards cooperated well and helped taking care of the stations. It was not in their job description but they were willing to help out. If a student returned the bike late, he/she would receive a ticket and have to pay the fee before getting their ID card back.”
“Most people often misunderstood and thought that being in Mahidol you did not need to buy a bike. The university would provide you with one. However, we only have 420 bikes and will not increase the number. We want to see if the students liked the idea. If they liked cycling on campus grounds, they will buy their own bike. The white bikes would never be enough for the number of users that increases everyday. If you come and borrow it on time everyday, then do it. However, if one day the bikes were all borrowed and gone before you came, you will understand the importance of owning your own bicycle and you would probably go buy one for yourself without us having to tell you.”
“I used to bring 50 bikes to parking spots around the campus. The first week everyone was excited and borrowed it to their classroom building, their faculty building, and other places. Then, I only left 30 bikes at the spots in the following week and then only 20 bikes were available. Now, if you notice at the back of a professor or a student’s car there would be a folding bike. We do not really have to tell them how important bicycles were. They have to experience it themselves. Like they say “you would not know the importance of someone or something until the day you lose them”. With bicycles it is the same. When they are gone people start to see how important they are and then buy one for themselves.”
“Now we have done a rough survey and there are about 4,000 bikes in Mahidol University. So, we did bike registration plates so that we can identify the owners. There used to be some cases of theft, the owners have to park their bike at the provided space since we have CCTV’s recording any suspicious activities. However, when we catch the thief the owner does not come to claim his lost bike and we have to let the thief free. The plates therefore helped us find the owners. They are also helpful in checking whether the owner is still going to school here or has already graduated. Can we make the bike useful for public use if it was discarded? We will have to renewal the registration plates annually.”
“We have activities that would make the project more relatable to students by having concerts, bike rallies. We went with a concept of “Jukka is Cool!” or it’s cool to ride a bike. Students begin to be more interested in the bicycles. It became viral and students started to have either a fixed gear group, a mountain bike group etc. It became a trend in/out of the university and more and more people started riding bicycles.
“I got an idea from watching Chula-Thammasat’s Annual Traditional Soccer Match. Before the match each university would bring their intro videos and compete against each other. Before new students enrolling in Salaya campus, we want to use something to communicate with them about this matter so we made short films. The first eight films were shown at the orientation. The full movie is shown on Jakka’s Facebook and was a success since the media reached the students effectively.”
“The quality of the bikes is the first lesson. When we received the money we were thinking about quantity over quality so we bought lots of bikes but they were not for public use. When many people use them they need higher quality spare parts. This lot of bikes was used for almost three years now and I think it is about time to retire these bikes. The new lot will have to be of higher quality regardless of quantity.”
“Nowadays, we have a rotation system and a parking system. Everything seems to go on well at a certain point. However, we want to do more with the project. We will also have a new project with communities surrounding Salaya campus. We want to make a cycling map to go and see the community’s way of life. We will make flyers and mobile application and the project will be publicly announced soon.”
We can see that the bicycle project of Mahidol University Salaya Campus has become successful through the few principles. However, we must be serious about it in order to make it happen. We need to show bikers what privileges they have when they are using bicycles. Those who do not get the privilege will start to see the importance of using bicycles. When bicycle become essential, they also became the priority.
มศาหลิดาลยา
มหาวิทยาลัย จักรยานต้นแบบ
ถ้าจะดูชุมชนที่มีพื้นที่ขนาดใหญ่รองลงมา จากเมือง มหาวิทยาลัยน่าจะเป็นอีกพื้นที่ หนึ่ง ที่มีผู้คนมาใช้ชีวิตร่วมกันจำนวนมาก ถือได้ว่าเป็นเมืองในอีกรูปแบบหนึ่ง ที่ สามารถสร้างวิถีการใช้ชีวิตที่ออกแบบ ใหม่ได้ การจะสรา้ งเมอื งจกั รยานขึ้นใน มหาวิทยาลัย จึงต้องได้รับการตอบรับ จากคนในชุมชนมหาวิทยาลัยด้วยจำนวน มากพอ การทำให้คนส่วนมากยอมรับได้ ในการดำเนินชีวิตที่ต้องถูกปรับเปลี่ยนไป จึงต้องมีแผนการ และกลวิธีสู่ความสำเร็จ
หลายๆ มหาวิทยาลัยเริ่มคิด และ ต้องการสร้างมหาวิทยาลัยจักรยาน ธรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ รังสิต กรุงเทพ รวมถึงเกษตรและมหิดลที่เป็นมหาวิทยาลัย แรกๆ ที่ริเริ่มโครงการจักรยาน แต่ดู เหมือนว่า มหิดล ศาลายา จะสำเร็จเป็น รูปธรรมกว่าที่อื่น
มหิดล ศาลายา เป็นมหาวิทยลัย ที่อยู่ไกลจากเมืองพอสมควร ไม่ใช่ มหาวิทยาลัยในเมืองที่มีระบบขนส่งมวลชน รองรับการเดินทาง เมื่อก่อนมีรถเมล์วิ่ง ผ่านเพียง 1 สาย ศาลายาก่อตั้งมา 36 ปี แล้ว บนพื้นที่ 1,240 ไร่ เป็นวิทยาเขตที่ กว้างใหญ่มาก ก่อนการพัฒนาเป็นเมือง จักรยาน พื้นที่ส่วนใหญ่ยังรกร้างเป็นป่า ถนนดินลูกรัง ตึกเรียนอยู่ไกลกัน นักศึกษาจำเป็นต้องใช้จักรยาน เพื่อปั่นไปเรียน ไปทำกิจกรรมร่วมกัน
ในปี 2551 ซึ่งเวลาผ่านไปกว่า 25 ปี ทีมผู้บริหารชุดใหม่ นำ โดย ศาสตราจารย์คลินิก นายแพทย์ปิยะสกล สกลสัตยาทร อธิการบดี มีแนวคิดในการปรับปรุงระบบกายภาพของมหาวิทยาลัย เริ่มจากระบบสาธารณูปโภค ไปจนถึงการวางผังแม่บทใหม่ทั้งหมด ให้มีสภาพแวดล้อมที่น่าอยู่มากขึ้น ปรับปรุงพื้นที่รกร้างให้สามารถ เข้าไปใช้ประโยชน์ได้ โดยยังรักษาวิถีชีวิตแบบเดิมให้คงอยู่ โดยใช้ชื่อ โครงการว่า “วิถีจักรยาน วิถีมหิดล ส่งเสริมสุขภาวะ”
“เมื่อเราเริ่มทำเฟสแรกตรงหน้าตึกอธิการบดี มีเสียงต่อต้าน แต่ท่านอธิการบดีเห็นว่าสิ่งที่ตัดสินใจทำครั้งนี้ เป็นเรื่องที่ดี ท่านยังทำต่อจนเสร็จครบตามแผน แล้วทุกอย่างก็ตอบโจทย์ได้ จริงๆ ถ้ามองย้อนกลับไปว่า เมื่อมีคนมาด่าว่ากันเยอะมากแล้ว ถอดใจ ทุกวันนี้คนก็คงจะยังพูดว่าทำยังไงก็ไม่สำเร็จ มีหลาย มหาวิทยาลัยเข้ามาดูงานที่ศาลายา แล้วถามว่าทำไมถึงทำได้ เราตอบไปว่า จริงๆ แล้ว สำคัญอยู่ที่ผู้นำว่าเห็นอะไรสำคัญ ถ้าเราบอกว่าจักรยานสำคัญ จักรยานจะต้องสำคัญที่สุด ถ้าเรา บอกว่ารถยนต์สำคัญ เราก็จะต้องหันมาสร้างลานจอดรถเพิ่ม และเพิ่มขึ้นไปเรื่อยๆ ไม่มีที่สิ้นสุด”
“ช่วงเริ่มต้นเราไม่ได้คิดที่จะทำเป็นโครงการจักรยาน เราคิด เพียงจะทำถนนให้คนเดิน โดยถนนคนเดินของเราจะต้องใหญ่กว่า หรือเทียบเท่าถนนรถยนต์ เพราะเราต้องการ ส่งเสริมสุขภาวะ ส่งเสริมสุขภาพ ดังนั้นการทำถนนจะต้องแสดงให้เห็นว่า เราให้ ความสำคัญกับอะไรมากกว่ากัน”
“สมัยก่อนมหาวิทยาลัยเรามีถนน 6 เลนสวน มีเกาะกลาง รถยังไม่เยอะ คนปั่นจักรยานใช้ถนนร่วมกับรถยนตร์ได้ เมื่อเวลา ผ่านไป ปริมาณรถที่เข้ามาใช้พื้นที่มีจำนวนเพิ่มมากขึ้น เพราะการ ก่อตั้งวิทยาลัยนานาชาติ และการมีส่วนงานต่างๆ เพิ่มมากขึ้น จนในที่สุดเกิดปัญหาการจราจร นักศึกษาส่วนใหญ่เป็นคนมีฐานะ การซื้อรถไม่ใช่เรื่องยาก ถนนที่เคยมี 6 เลน คงเหลือใช้เพื่อการ สัญจรเพียง 2 เลน นอกนั้นกลายเป็นลานจอดรถ เราจึงตัดสินใจ ขอพื้นที่ที่ใช้จอดรถ คืนให้กับนักศึกษาส่วนใหญ่”
“การขอพื้นที่คืน ทำให้มีปัญหากับคนที่เคยสบายๆ มาถึงจอด รถแล้วขึ้นตึกเลย เป็นรถประมาณ 2,000 กว่าคัน เราจะไม่ให้ เขาจอดก็ไม่ได้ เราจึงทำลานจอดรถชั่วคราว 4 ลาน รองรับได้ ประมาณ 1,000 กว่าคัน ใครมาก่อนได้ก่อน เราทำรถรางให้รองรับ เป็นระบบขนส่งมวลชน เราต้องเตรียมช่องทางต่างๆ ไว้ให้ ไม่เช่น นั้นคนเหล่านี้จะยิ่งไม่ยอม”
“เมื่อระบบกายภาพพร้อมแล้ว มหาวิทยาลัยมองว่า ควรมีตัวขับ เคลื่อน เราจึงได้จัดตั้ง “จักก้า เซ็นเตอร์” ขึ้นมา ในปีแรกเรามี แนวคิดในการทำจักรยานสีขาว โดยนำจักรยานที่ไม่ได้ใช้แล้ว ที่จอดทิ้งไว้ตามหอพักจากเด็กที่จบไปแล้วไม่ได้เอากลับไปด้วย เราก็ไปตามเก็บมาซ่อมให้ใช้ได้แล้วทาสีขาวใหม่ทั้งหมด จัดงาน เปิดตัวอย่างใหญ่โต และประชาสัมพันธ์ไปว่า “ถ้าเจอจักรยานสีขาว ที่ไหนหยิบปั่นได้เลย” ไม่มีใครเป็นเจ้าของ อย่างถ้าเอาปั่นไปเรียน แล้วจอดไว้ ถ้ามีใครคนอื่นมาเจอก็เอาไปใช้ต่อได้เลย”
“ถือเป็นบทเรียนอย่างดี เมื่อไม่มีคำว่ารับผิดชอบ เมื่อจักรยานพัง หรือเกิดปัญหา ไม่มีใครอาสาที่จะดูแลมัน เราตามไปเก็บจักรยาน พวกนี้กลับมา บางคันอยู่ในคลอง อยู่บนต้นไม้ เราไม่ได้วางแผน ว่าใครจะเป็นคนจัดการกับเรื่องพวกนี้ จักรยานพังเราจะรู้ได้ยังไง เด็กขี่ไปแล้วรถมีปัญหาแล้วจะให้ทำอย่างไร จะทิ้งไว้อย่างนั้นหรือ จะต้องรับผิดชอบด้วยการซ่อม เราจะต้องสร้างสำนึกในสิ่งนี้ให้เด็ก ตอนนั้นเรามีจักรยานสีขาวอยู่ทั้งหมด 200 คัน พังไม่มีเหลือเลย เรายังเก็บซากเอาไว้เป็นอนุสรณ์ทั้งหมด ถือเป็นก้าวแรกที่ล้มเหลว”
“บังเอิญช่วงนั้นบริษัท coca-cola เข้ามาเห็นระบบกายภาพของ เราที่เสร็จทุกอย่างแล้ว จึงเสนอตัวเข้ามาส่งเสริมโครงการนี้ เขาให้ เงินเรามาก้อนหนึ่ง ทำอะไรก็ได้ เราตัดสินใจซื้อจักรยานเพื่อทำ จักรยานสีขาวรุ่นใหม่จำนวน 420 คัน เสือภูเขา 70 คันให้กับพี่ๆ รปภ. และอีก 30 คันให้คณะผู้บริหาร เป็นจักรยานประจำตำแหน่ง เรามองว่าถ้าอยากให้เด็กใช้ ผู้นำต้องใช้จักรยานด้วย เวลามีประชุม ในมหาวิทยาลัย เราจะปั่นจักรยานไป นำส่งจักรยานวันแรก ท่าน อธิการฯ ปั่นนำผู้บริหารทั้งหมด 30 คัน ไปตรวจไซต์งานพร้อมกัน”
“จากนั้นเราผลักดันให้ “จั๊กก้า เซ็นเตอร์” ดำเนินการแบบครบ วงจร เป็นศูนย์กลางสำหรับซื้อขายและซ่อมบำรุง สร้างความสะดวก ให้นักศึกษามากขึ้น เพื่อส่งเสริมการตัดสินใจ ให้มาใช้งานง่ายขึ้น จดั การระบบยมื คนื วนั ตอ่ วนั ขนึ้ มา เราใหเ้ ดก็ ยมื จกั รยานไปใช้ โดยการทำบัตรสมาชิก ให้กรอกข้อมูลแล้วเก็บรายละเอียด ไว้ในระบบ ถึงเวลาถ้าไม่มาคืน ก็โทรตามทวงคืน แต่เพราะ บัตรจั๊กก้า ไม่มีความสำคัญในชีวิต เด็กก็ทิ้งๆ ขว้างๆ ไม่สนใจ ไม่นำจักรยานมาคืน ทำให้เราต้องยกเลิกบัตรนี้ไป แล้วตามเก็บ จักรยานทั้งหมดกลับมาเข้าระบบอีกครั้ง”
“หลังจากนั้น เราให้ใช้บัตรนักศึกษา บัตรประชาชน ใบขับขี่ มายืมแทน ก็ดีขึ้น เพราะบัตรเหล่านี้เป็นสิ่งสำคัญ ยังไงเด็กต้อง มาเอาคืน เริ่มแรกเรากระจายจุดยืมให้เยอะ มีให้บริการ 14 จุด โดยได้รับความร่วมมือจากพี่ๆ รปภ.เป็นผู้ให้บริการ ช่วยดูแล จัดการให้เป็นอย่างดี ทั้งๆ ที่ไม่ใช่หน้าที่ ถ้าน้องมาคืนเกินเวลา ก็จะยังไม่คืนบัตร แต่จะให้เป็นใบสั่งไปเสียค่าปรับอีกที”
“คนส่วนใหญ่จะเข้าใจว่า มาอยู่มหิดลไม่ต้องซื้อจักรยาน เพราะมหาวิทยาลัยจัดไว้ให้ใช้ แต่เราจัดไว้เพียง 420 คัน และจะไม่ เพิ่มจำนวน ที่เราจัดไว้เพื่อให้ลองขี่ก่อนว่าชอบไหม ถูกใจไหม จำเป็นไหม ถ้าชอบวิถีนี้ก็ไปหาซื้อมาใช้ จักรยานสีขาวไม่มีทาง พอกับปริมาณคนใช้ที่เพิ่มขึ้นทุกวัน ถ้ามั่นใจว่ามายืมทันทุกวัน ก็มีให้ใช้ แต่ถ้าวันใดจักรยานที่เคยใช้ถูกยืมไปหมด ไม่มีให้ใช้ นักศึกษาจะรู้สึกได้เองว่า จักรยานมีความสำคัญ เป็นสิ่งจำเป็น ก็จะไปซื้อเอง โดยที่เราไม่ต้องบอก”
“ผมเคยลองเอาจักรยานไปไว้ที่ลานจอดรถจุดละ 50 คัน สปั ดาหแ์ รกทกุ คนกม็ ายมื ไปตกึ ไปคณะ ไปทำ กจิ กรรม พอสปั ดาห์ ถัดมาผมไปเอาออกจุดละ 30 คัน เหลือไว้ 20 คัน คนที่มาทีหลัง ที่เคยได้ใช้ก็จะเริ่มมองหาเพราะเคยได้ใช้ ทุกวันนี้ถ้าไปสังเกตุ ตามลานจอดรถ ไมว่ า่ จะเปน็ รถอาจารยห์ รอื นกั ศกึ ษาแทบทกุ คนั จะมีจักรยานพับได้อยู่หลังรถ เราไม่จำเป็นต้องไปอธิบายหรอกว่า จักรยานสำคัญอย่างไร พูดไปก็ไม่มีใครฟังต้องทำให้เขาเห็น เมื่อ วันหนึ่งสิ่งที่มีคุณไม่มีแล้ว สิ่งที่คุณใช้คุณไม่ได้ใช้อีกแล้ว มันกลาย
เป็นสิ่งสำคัญในชีวิตแล้วเขาจะไปหามาใช้ของเขาเอง”
“ล่าสุด เราทำการสำรวจคร่าวๆ มีจักรยานอยู่ในมหิดลประมาณ 4,000 กว่าคัน เราจึงจัดทำทะเบียนจักรยานขึ้นมาเพื่อระบุเจ้าของ เพราะเคยเกดิ เหตกุ ารขโมยจกั รยานเกดิ ขนึ้ ถา้ ไมจ่ อดผดิ ที่ นำไป จอดในจุดที่เราทำไว้ให้ทั่วมหาวิทยาลัย และติดตั้งกล้องวงจรปิดทุก จุด แต่เมื่อจับโจรได้แล้วไม่มีเจ้าทุกข์ กฎหมายระบุว่าต้องปล่อย ตัวคนร้ายไป ระบบ ทะเบียนจึงเป็นข้อมูลอ้างอิงในการตามหา เจ้าของรถ หรือเจ้าทุกข์ และยังมีประโยชน์ในการเช็คว่ารถคันนี้ เจ้าของยังเรียนอยู่ หรือ จบไปแล้ว จะเอาจักรยานไปใช้ประโยชน์ ต่อได้ไหม จะมีการต่อ ภรบ. ทุกปี”
“เรามีการจัดกิจกรรมเพื่อผลักดันให้โครงการนี้ เข้าถึงนักศึกษา ได้มากที่สุด มีการจัดคอนเสริ์ต จัดแรลลี่จักรยาน เราเคยมี concept หนึ่งออกไปว่า “Jukka is Cool!” ขี่จักรยานแล้วเท่ห์ จนกลายเป็น โรคระบาดในหมู่นักศึกษา เริ่มมีกลุ่มฟิกเกียร์ เริ่มมีกลุ่มเสือภูเขา เริ่มมีคนเห็นแล้วอยากขี่ พอเริ่มมีคนขี่มากๆ ก็มีคนขี่ตามกัน กลายเป็นแฟชั่นในมหาวิทยาลัยไป”
“ผมได้ไอเดียมาจากฟุตบอลประเพณี จุฬา-ธรรมชาติ ก่อนการแข่งขัน แต่ละทีมเขาก็จะมี intro มาสู้ มาโชว์กัน นักศึกษาใหม่ที่จะเข้ามา ที่ศาลายา เรามองว่าควรจะมีสื่อที่เข้าถึงนักศึกษา เราจึงทำเป็น หนังสั้น ชุดแรกความยาว 8 นาที ใช้เปิดให้นักศึกษาดูในวัน ปฐมนิเทศน์ ส่วนเวอร์ชั่นเต็ม ต้องตามไปดูใน facebook ของจั๊กก้า ซึ่งเห็นผลเร็วมาก นักศึกษาให้ความสนใจจำนวนมาก เป็นสื่อที่ เข้าถึงนักศึกษาได้ดีมาก”
“คุณภาพของจักรยาน เป็นบทเรียนแรกๆ เพราะตอนนั้นที่ได้ งบมาเราก็เน้นซื้อจักรยานด้วยปริมาณ แต่จักรยานพวกนี้ไม่เหมาะ ที่จะเป็นจักรยานสาธารณะ เพราะเมื่อมีคนใช้หลายมือ อะไหล่ มันต้องทนกว่านี้ จักรยานล็อทนี้เราใช้กันมาได้เกือบ 3 ปี น่าจะ ใกล้หมดอายุใช้งาน การเลือกซื้อล็อทใหม่เข้ามา เราคงจะมองที่ คุณภาพมากกว่าปริมาณ”
“ทุกวันนี้ระบบการหมุนเวียน ระบบการจอดจักรยาน ทุกอย่าง ถือว่าอยู่ตัวในระดับหนึ่ง แต่คงไม่หยุดอยู่เพียงนี้ ยังต้องมีการพัฒนา อย่างต่อเนื่องต่อไป และหลังจากนี้เราจะมีโปรเจคใหม่ โดยเริ่ม ทำกับชุมชนรอบๆ ศาลายา ทำเป็นแผนที่จักรยาน เข้าไปดูชีวิต ชุมชน จะจัดทำเป็นแผ่นพับ และเป็น application โดยจะมีการ เปิดตัวโครงการใหม่เร็วๆ นี้”
เราจะเห็นได้ว่าโครงการจักรยานของมหิดล ศาลายา สำเร็จขึ้น มาได้จากแนวคิดหลักแค่ไม่กี่ข้อ แต่ต้องทำแนวคิดเหล่านี้ให้เกิด ได้จริง เมื่อผู้นำมองว่าสำคัญ ทุกอย่างก็เป็นไปได้ ทำให้คนใช้ จักรยานได้รับสิทธิพิเศษเหนือกว่าคนอื่น แล้วคนที่ไม่ได้สิทธิ์ก็จะ มองเห็น ทำให้เป็นสิ่งขาดไม่ได้ แล้วจักรยานก็จะสำคัญที่สุด
Leave a Reply